วันศุกร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

World Disruption

World Disruption







Thematic Inspection of Empowerment for Curriculum Leadership

Thematic Inspection of Empowerment for Curriculum Leadership

Education Scotland
The Education Reform -- Joint Agreement published in June 2018 sets out the collective agreement by a commissioning group including the Scottish Government, COSLA, SOLACE, ADES, and Education Scotland. The Joint Agreement sets out agreed principles, enablers, and measures that will support and encourage the empowerment of schools in Scotland. These include the commitment that Education Scotland would carry out three inspections in the 2018-19 academic year looking at the following themes: Readiness for Empowerment; Curriculum Leadership; and Parent and Pupil Participation. This report draws together the findings from the second thematic inspections on Curriculum Leadership that took place in the spring term of 2019. Evidence was gathered for each of the following areas: (1) Curriculum: How well are headteachers and schools empowered to design their local curriculum in line with Curriculum for Excellence and in collaboration with their school community?; and (2) Leadership of learning: How well are headteachers and schools empowered to lead learning in line with Curriculum for Excellence and in collaboration with their school community? Schools visited were asked to complete a self-evaluation of their empowerment for curriculum leadership and to provide evidence against the two categories. Information on evidence from the thematic inspection visits together with views from participants and illustrations of practice are provided. [Foreword by Gayle Gorman. For the first thematic inspection report, see "Thematic Inspection of Readiness for Empowerment" (ED599835).]
Education Scotland. Denholm House Almondvale Business Park, Almondvale Way, Livingston, EH54 6GA, UK. Tel: +44-014-1282-5000; e-mail: enquiries@educationscotland.gov.uk; Web site: https://education.gov.scot/
Publication Type: Reports - Evaluative
Education Level: Elementary Secondary Education
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: Education Scotland
Identifiers - Location: United Kingdom (Scotland)

Download Full Text


Exploring the Role of the Academic Advisor in Leadership Education


Exploring the Role of the Academic Advisor in Leadership Education

Spratley, Sophie
Journal of Leadership Education, v19 n2 p34-48 Apr 2020
Despite the relevance of academic advising to the college student experience, there is little research to define the role of academic advisors in leadership education. This study uses qualitative case study research to explore the role of the academic advisor in the leadership education process within institutions of higher education. The findings and resulting implications provide context for creating a more holistic approach to leadership education through the maximization of advising relationships. Academic advisors can leverage their knowledge of student development theory, leadership education, and their role in the higher education process to maximize their advising relationships and facilitate student leadership development.
Association of Leadership Educators. e-mail: Jole@aged.tamu.edu; Web site: http://leadershipeducators.org/page-1014283
Publication Type: Journal Articles; Reports - Research
Education Level: Higher Education; Postsecondary Education
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: N/A

Spratley, S.S. (2020) Exploring the Role of the Academic Advisor in Leadership Education. Journal of Leadership Education, v19 n2 p34-48 Apr 2020

วันศุกร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564

รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของประสิทธิผลโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคกลางของประเทศไทย

รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของประสิทธิผลโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคกลางของประเทศไทย

  • ธวัชชัย ตั้งอุทัยเรือง ชวนชม ชินะตังกูร และ เสาวนีย์ กานต์เดชารักษ์
Keywords: ประสิทธิผลโรงเรียน, การมีส่วนร่วมของชุมชน, การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้, สมรรถนะองค์การ

ABSTRACT

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำ สมรรถนะองค์การ การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ การมีส่วนร่วมของชุมชน และประสิทธิผลของโรงเรียน 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลระหว่างตัวแปรปัจจัย 3) เพื่อสร้างรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุจากตัวแปรปัจจัย และ 4) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างรูปแบบตามสมมติฐานกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ โรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคกลาง ผู้ตอบแบบสอบ คือ ผู้อำนวยการ, ครูผู้สอน และประธานคณะกรรมการสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลของโรงเรียน ภาวะผู้นำ สมรรถนะองค์การ การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมของชุมชน มีผู้ตอบแบบสอบถาม 567 คนในช่วงระหว่างกันยายนถึงพฤศจิกายน 2556 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตราฐาน ค่าความเบ้ ค่าความโด่ง การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์เส้นทาง ข้อค้นพบจากการวิจัย 1) ภาวะผู้นำ สมรรถนะองค์การ การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ การมีส่วนร่วมของชุมชน และประสิทธิผลของโรงเรียนอยู่ในระดับมาก 2) การมีส่วนร่วมของชุมชนมีอิทธิพลทางตรงต่อประสิทธิผลของโรงเรียน (ß=.35, p<.01) การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้มีอิทธิพลทางตรงต่อประสิทธิผลของโรงเรียน (ß=.35, p<.01) และสมรรถนะขององค์การมีอิทธิพลทางตรงต่อประสิทธิผลของโรงเรียน (ß=.19, p<.01) ภาวะผู้นำไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อประสิทธิผลของโรงเรียน (ß=1.029, p=.303) แต่ภาวะผู้นำมีอิทธิพลทางอ้อมต่อประสิทธิผลโรงเรียน (ß=.60, p<.01) ผ่านการมีส่วนร่วมของชุมชน (ß=.19, p<.01) ผ่านการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (ß=.24, p<.01) และผ่านสมรรถนะขององค์การ (ß=.16, p<.01) 3) รูปแบบสามารถอธิบายความแปรปรวนประสิทธิผลของโรงเรียนได้ร้อยละ 62 และ 4) รูปแบบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ องค์ความรู้ใหม่จากการศึกษาวิจัยคือ ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมีอิทธิพลทางอ้อมต่อประสิทธิผลของโรงเรียนผ่านปัจจัยการมีส่วนร่วมของชุมชนและการเป็นโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ ดังนั้นเพื่อยกระดับประสิทธิผลโรงเรียน ผู้บริหารโรงเรียนควรส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนและการเป็นโรงเรียนแห่งการเรียนรู้เป็นสำคัญ

ธวัชชัย ตั้งอุทัยเรือง ชวนชม ชินะตังกูร และ เสาวนีย์ กานต์เดชารักษ์ (2554) รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของประสิทธิผลโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคกลางขอ'ประเทศไทย วารสารวิจัย มสด สถาบันวิจัยและพัมนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต  หน้า 95-112DVol. 10 No. 3: September - December 2014U Res. J. 10 (3): Sep-DecSDU ReSDU Res. J. 10 (3): Sep-Decs. J. 10 (3): Sep-Dec

กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6

 

กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6
Development Strategies of Transformational Leadership for School Administrators in Nakhon Ratchasima Primary Educational Service Area Office 6

 : ชื่อผู้วิจัย นายทัพพ์นิธิศ ปิ่นภัคพูลลดา
 : ตำแหน่ง นักวิชาการศึกษา
 : ครูและบุคลากรทางการศึกษา
 : ปี 2560
 : 491


บทคัดย่อ (Abstract)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา 2) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นที่เกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 3) เพื่อสร้างกลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 และ 4) เพื่อประเมินกลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานประกอบด้วย การวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ การวิเคราะห์เอกสารและการสัมภาษณ์ และการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลกับประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 จำนวน 125 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียนหรือผู้รักษาราชการแทน ครู กรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง นักเรียน รวมทั้งหมด 500 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน จากค่าดัชนีความต้องการจำเป็น วิเคราะห์โอกาส ภาวะคุกคามและกำหนดกลยุทธ์โดยใช้รูปแบบของ SWOT Matrix และประเมินความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของกลยุทธ์จากผู้ทรงคุณวุฒิผลการวิจัยพบว่า
1. องค์ประกอบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา มี 5 องค์ประกอบ คือ การมีอิทธิพลเชิงอุดมการณ์ การคำนึงถึงปัจเจกบุคคล การกระตุ้นทางปัญญา การสร้างแรงบันดาลใจ และการมีพฤติกรรมทางจริยธรรม
2. ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นในการพัฒนามากเป็นลำดับที่หนึ่ง คือ การมีพฤติกรรมทางจริยธรรม โดยมีค่าดัชนีความต้องการจำเป็น เท่ากับ 0.27 รองลงมา คือ การกระตุ้นทางปัญญา การสร้างแรงบันดาลใจ การคำนึงถึงปัจเจกบุคคล และการมีอิทธิพลเชิงอุดมการณ์ โดยมีค่าดัชนีความต้องการจำเป็น เท่ากับ 0.26, 0.25, 0.20 และ 0.19 ตามลำดับ
3. กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 มี 5 กลยุทธ์หลัก คือ กลยุทธ์กระตุ้นพฤติกรรมทางจริยธรรม กลยุทธ์ส่งเสริมการกระตุ้นทางปัญญา กลยุทธ์ส่งเสริมการสร้างแรงบันดาลใจ กลยุทธ์มุ่งเน้นความสำคัญของปัจเจกบุคคล และกลยุทธ์เสริมสร้างอิทธิพลเชิงอุดมการณ์ โดยมี 19
กลยุทธ์รองและ 92 แนวทางปฏิบัติ
4. การประเมินกลยุทธ์ ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.84 และความเป็นไปได้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.75


นายทัพพ์นิธิศ ปิ่นภัคพูลลดา ( 2560)  กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 : นักวิชาการศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา


การศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครตามการรับรู้ของครูและผู้บริหาร

 การศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครตามการรับรู้ของครูและผู้บริหาร

A study of transformational leadership behaviors of administrators in schools under Bangkok Metropolitan Administration as perceived by teachers and school administrators

Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ตามการรับรู้ของครูและผู้บริหาร 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับพฤติกรรมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ตามการรับรู้ของครูและผู้บริหาร โดยใช้กรอบการวิจัยเรื่องพฤติกรรมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบพฤติกรรมเฉพาะ 4 ประการ ของ Bass และ Avolio กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครจำนวน 131 คน และครูจำนวน 390 คน มีผู้ตอบแบบสอบถามกลับและมีความสมบูรณ์ คิดเป็นร้อย 78.12 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่าตามการรับรู้ของครู ในภาพรวมผู้บริหารมีพฤติกรรมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงรวมทุกองค์ประกอบพฤติกรรมเฉพาะอยู่ในระดับมาก และตามการรับรู้ของผู้บริหาร ในภาพรวมผู้บริหารมีพฤติกรรมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงรวมทุกองค์ประกอบพฤติกรรมเฉพาะอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบระดับพฤติกรรมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารตามการรับรู้ของครูและผู้บริหาร พบว่ามีการรับรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทุกองค์ประกอบพฤติกรรมเฉพาะ โดยผู้บริหารรับรู้ว่าตนมีพฤติกรรมในทุกองค์ประกอบสูงกว่าที่ครูรับรู้
Abstract: The purposes of this research were 1) to study the level of transformational leadership behaviors of administrators in schools under Bangkok Metropolitan Administration as perceived by teachers and school administrators. 2) to compare the mean level of transformational leadership behaviors of administrators in schools under Bangkok Metropolitan Administration as perceived by teachers and school administrators. Bass & Avolio’s concept on transformational leadership behaviors was used as the framework of this research.The total sample consisted of 131 school administrators and 390 teachers. Out of the total 521samples, 78.12 % responded. Five point Likert scale questionnaires were used to collect the data. All data were analyzed by percentage, mean, and standard deviation. T-test was used to compare the perceptions of the two groups. This study resulted following findings in the: The level of transformational leadership behaviors of administrators in schools under Bangkok Metropolitan Administration as perceived by teachers was high level and by school administrators was highest level. The comparison on the mean level of the all sub-scale of transformational leadership behaviors of administrators in schools under Bangkok Metropolitan Administration perceived between teachers and school administrators expressed that the difference was statistically significant at 0.05. The school administrators perceived themselves performing in all sub-scales higher than the teachers.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร

จิรพิพัฒน์ แจ่มนิล (2563)   การศึกษาพฤติกรรมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครตามการรับรู้ของครูและผู้บริหาร  ครุศาสตรมหาบัณฑิต บริหารการศึกษา  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วันเสาร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2564



Blogger  นักศึกษาปริญญาโท บริหารการศึกษา 

ม.ธนบุรี รุ่นที่ 7

https://suchanyapam.blogspot.com
https://manidatukta2524.blogspot.com
https://sanjitaklayprayong.blogspot.com
https://kruweerayut01.blogspot.com
https://pongthepniyomthai.blogspot.com
https://noorfadilah2534.blogspot.com
https://kanoktip2536.blogspot.com
https://supannee-suna.blogspot.com
https://chaitobuddee.blogspot.com
https://teerapongsuksomsong.blogspot.com
https://witsarut-benz238.blogspot.com
https://phakornkiat.blogspot.com
https://nitid-hengchoochip.blogspot.com
https://chonthichadeebucha.blogspot.com
https://nopparataunprasert.blogspot.com
https://chaichaofa.blogspot.com
https://voraponbabyboss.blogspot.com
https://chenchira2021.blogspot.com
https://nattidadechakkanat.blogspot.com
https://khunmuangchukorn.blogspot.com
https://anupong12tu.blogspot.com
https://sutthananabangchang.blogspot.com
https://sattawatsurisan.blogspot.com
https://thanchanokluarnkrew.blogspot.com
https://supaporn1204.blogspot.com
https://vigaivaraporn.blogspot.com
https://nisachonyimprasert.blogspot.com

 



https://cmss-edubkk.com/teacher/#/login

ระบบทรัพยากรบุคคล
ทางการศึกษา กรุงเทพมหานคร
Education Human Resource System
(eHR)
สำนักการศึกษาดำเนินการโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อยกระดับสมรรถนะ การบริหารทรัพยากรบุคคลข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร

วัตถุประสงค์ 
เพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคลข้าราชการครูและบุคคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครผ่านระบบสารสนเทศ รับรองการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรด้านการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ

 วิธีการใช้งาน 

1. eHR - ครู - เข้าใช้งานครั้งแรก


2. eHR - ครู - ดูข้อมูลทะเบียนประวัติและการขอแก้ไขข้อมูล

3.  eHR - ครู - การลา




4. eHR - ครู - แผนการสอน



5. eHR - ครู - สมัครรับการประเมิน



6. eHR - ครู - จัดการผลงานทางวิชาการหรือรางวัลที่ได้รับ



7.  eHR - ครู - การขอมีบัตรประจำตัวข้าราชการ



8. eHR - ครู - ปฏิทินการสอน


9.  eHR - ครู - การยื่นขอวิทยฐานะ


10. eHR - ครู - การรับรองข้อมูลทะเบียนประวัติ


ประวัติ ศิริพร ไชยช่อฟ้า


ชื่อ    นางสาวศิริพร          นามสกุล  ไชยช่อฟ้า 

ข้อมูลส่วนตัว

        เกิด วันจันทร์ ที่   6  มกราคม   พ.ศ. 2535    

        สัญชาติ   ไทย       เชื้อชาติ   ไทย         ศาสนา          พุทธ

        กรุ๊ปเลือด   B   น้ำหนัก    45   กก.     ส่วนสูง   160 ซม.


ภูมิลำเนา   

    บ้านเลขที่  2  หมู่  3   ตำบล ริม   อำเภอ ท่าวังผา  

    จังหวัด  น่าน    รหัสไปรษณีย์  55140


ติดต่อสื่อสาร

    โทรศัพท์   085-0297698     

    E-Mail :   Chaichaofa@gmail.com

 

ความถนัดและความสามารถพิเศษ

        -   โปรแกรม Geometer 's Sketchpad

        -   ดนตรีไทย (ซอด้วง)

        -   จินตลีลา


ประวัติการศึกษา
Education

ระดับชั้นอนุบาล – ประถมศึกษา   ปีการศึกษา 2546 

    จบจาก  โรงเรียนบ้านท่าวังผา “ประชารัฐวิทยาคาร” อำเภอท่าวังผา  จังหวัดน่าน

ระดับชั้นมัธยมศึกษา  ตอนต้น    ปีการศึกษา 2549 

    จบจาก  โรงเรียนท่าวังผาพิทยาคม  อำเภอท่าวังผา  จังหวัดน่าน 

ระดับชั้นมัธยมศึกษา  ตอนปลาย   ปีการศึกษา 2552 

    จบจาก  โรงเรียนท่าวังผาพิทยาคม  อำเภอท่าวังผา  จังหวัดน่าน 

ระดับปริญญาตรี  ปีการศึกษา 2556 

    จบจาก  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิทยาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตร์  อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ    ปีการศึกษา 2559 

   จบจาก  มหาวิทยาลัยฟาอีสเทอร์น  คณะศึกษาศาสตร์   สาขา วิชาชีพครู  อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่